Thai Food

2553-07-31

เครื่องปรุงรสสำหรับอาหารไทย Seasoning in Thai Food

Seasoning in Thai Food

Thai food usually is very tasty. Aside from the main ingredients used in Thai cooking. Whether meat or vegetables, seasonings also play important role to enhance flavoring. Thus, one should keep in mind and become familiarized with all the key flavors prevalent in Thai cooking as described below.


SWEETNESS

The sweet taste found in Thai food is partly derived naturally from some of various meats used and partly by adding other sweeteners to further enhance the flavor. The key sweetening agent is, of course, sugar, of which comes in a variety of forms, including refined sugar, palm sugar, and brown sugar. As different kinds of sugars have varying levels of sweetness, the type of sugar used affects the overall flavor of food.

Refined sugar has a sharp sweetness and does not change the color of the food. Palm sugar, on the other hand, has a milder in sweetness and suitable for food containing coconut milk. When dissolved over the heat and added to Thai noodle dishes or even the Thai spicy casserole "Palo", palm sugar can improve the flavor as well as enhance the aroma of those dishes. Brown sugar, in powdered form, is suitable for certain kinds of food and sweet. Yet another kind of sugar namely palm sugar cakes, which are made from boiling palm sugar and ladled into chunks then left to dry.


SALTINESS

The saltiness in Thaifood is derived from fish sauce and salt. Fish sauce is added to main dishes not only for the salty taste but also for its unique aroma. Besides fish sauce and salt, soy bean sauce and other all purpose sauces are now used in Thai cooking, depending upon the dishes made or the preference of the cook.


SOURNESS


Most of the sourness comes from adding lime juice, tamarind juice, kaffir lime juice, or vinegar. The acid agents used in seasonings must be carefully chosen to compliment each dish. For instance, when making salad, lime juice should be used for its aroma. Tamarind juice has a sweet and sour taste, suitable for mixing with food containing palm sugar as a sweetener, in order to enrich the flavor of such dishes. Kaffir lime juice is used in certain dishes that require its aroma. When mixed with lime juice and used in hot and sour vegetable soup, it will greatly improve the flovor


SPICENESS

Most of the hot taste in Thaifood is mainly from Chilies. Fresh spur chilies are sliced and added to curries and stir-fried dishes to give color and spiciness. Dried spur chilies are also another essential ingredient to make the hot taste in Thaifood. Hot taste from chili also promotes the appetite.

__________________________________________________________________
Thai Language
เครื่องปรุงรสสำหรับอาหารไทย
Seasoning in Thai Food

อาหาร ไทยเป็นอาหารที่มีรสชาติกลมกล่อม ซึ่งนอกจากวัตถุดิบหลากหลายที่ใช้ในการปรุงอาหารไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ ผักและสมุนไพรต่างๆแล้ว เครื่องปรุงรสยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้รสชาติอาหารดีขึ้นอีกด้วย ซึ่งเครื่องปรุงรสที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย

มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

รสหวาน


รส หวานที่สัมผัสได้ในอาหารไทยนั้น ส่วนหนึ่งได้มาจากความหวานของเนื้อสัตว์ที่ใช้ประกอบอาหารเอง ขณะที่อีกส่วนหนึ่งเกิดจากการปรุงรสหวานเพิ่มเติม จากการใส่ น้ำตาล ลงไป ซึ่งน้ำตาลนั้นมีหลายรูปแบบ ทั้งน้ำตาลทรายขาว, น้ำตาลทรายแดง และน้ำตาลปี๊บ ซึ่งน้ำตาลแต่ละชนิดก็จะมีความหวานและความหอมที่ต่างกันด้วย

น้ำตาล ทรายขาวจะมีรสหวานมาก และจะไม่เปลี่ยนสีของอาหารที่ปรุงรสเพิ่มลงไป ขณะที่ น้ำตาลมะพร้าว (น้ำตาลปี๊บ) จะมีรสหวานที่อ่อนลงเมื่อเทียบกับน้ำตาลทรายขาว ซึ่งเหมาะสำหรับปรุงรสหวานอาหารประเภทแกงต่างซึ่งใช้กะทิเป็นส่วนประกอบ สำคัญ น้ำตาลมะพร้าวเมื่อนำไปปรุงอาหารอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นประเภทเส้นก๋วยเตี๋ยวผัดหรือนำไปต้มพะโล้ จะช่วยให้รสชาติอาหารดีขึ้นและกลิ่นยังหอมชวนรับประทานอีกด้วย สำหรับน้ำตาลทรายแดง ก็เหมาะกับการประกอบอาหารเช่นกัน และยังนิยมใช้ทำขนมหวานต่างๆ


รสเค็ม

รส เค็มสำหรับอาหารไทยส่วนมากจะเกิดจากการปรุงรสด้วย น้ำปลา (Fish Sauce) และเกลือ น้ำปลานั้นนอกจากจะเพิ่มรสเค็มให้อาหารที่ใส่ลงไปแล้ว ยังให้กลิ่นที่หอมเป็นเอกลักษณ์ของอาหารไทยอีกด้วย นอกจากน้ำปลาและเกลือแล้ว ซ๊อสถั่วเหลือง (ซิอิ๊ว) และซ๊อสปรุงรสยังช่วยเพิ่มรสเค็มให้อาหารไทยได้เช่นกัน





รสเปรี้ยว : รสเปรี้ยวของอาหารไทยได้มาจากการปรุงรสโดยใส่ น้ำมะนาว, น้ำมะขาม, น้ำมะกรูด และน้ำส้มสายชู ซึ่งใช้ต่างกันตามประเภทของอาหารที่ปรุง ยกตัวอย่างเช่น กรณีทำอาหารประเภทยำ นิยมใช้น้ำมะนาวในการปรุงรสเปรี้ยวเพราะจะได้กลิ่นที่หอมน่ารับประทาน ขณะเดียวกันน้ำมะขามจะให้ทั้งรสเปรี้ยวและรสหวาน ซึ่งเหมาะกับการปรุงรสอาหารที่ใช้กับน้ำตาลมะพร้าว เพื่อให้รสชาติของอาหารจานนั้นหอมและรสดีขึ้น น้ำมะกรูดมักจะใช้เฉพาะอาหารพิเศษที่ต้องการความเปรี้ยวและกลิ่นที่เป็นเอก ลัษณ์ โดยฉพาะเมื่อนำไปผสมกับน้ำมะนาวและปรุงรสในอาหารประเภทต้มยำ จะทำให้กลิ่นของอาหารหอมและชวนน่ารับประทานเป็นอย่างมาก


รสเผ็ด


รส เผ็ดของอาหารไทย เป็นเอกลักษณ์ที่ทำให้ชาวต่างชาติจดจำอาหารไทยได้เป็นอย่างดี ซึ่งรสเผ็ดนั้นได้มากจากการปรุงรสด้วยพริก ที่มีทั้งพริกสดและพริกแห้ง พริกมีหลายประเภทแต่โดยทั่วไปแล้ว พริกที่มีขนาดใหญ่จะมีรสเผ็ดน้อยกว่าพริกที่มีขนาดเล็ก ความหอมของพริกแต่ละชนิดก็ต่างกันด้วย จากข้อมูลการวิจัย พริกมีสรรพคุณช่วยให้เจริญอาหาร ส่งผลให้อาหารที่มีพริกเป็นส่วนประกอบจะช่วยให้ทานอาหารมื้อนั้นๆได้มากขึ้น


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น